วันศุกร์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2566

ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี

 ความเป็นมา

 นายสุพรม  ชวนชูใจ  ชาวบ้านหัวดงยาง หมู่ที่ ๕ ตำบลนาคำ  อำเภอบ้านดุง ผ้าป่าสามัคคี เป็นการทำบุญอีกอย่างหนึ่งของชาวพุทธ คล้ายกับพิธีทอดกฐิน แต่ไม่มีกำหนด ระยะเวลาจํากัด คือสามารถจะทอดเมื่อไรก็ได้เช่นกัน อีกทั้งยังไม่เจาะจง เกี่ยวกับภิกษุที่จะรับผ้ากฐินแต่อย่างใด  ในสมันพุทธกาล เมื่อครั้งที่พระบรมศาสดายังมิได้ทรงอนุญาตให้พระภิกษุทั้งหลาย รับจีวร จากชาวบ้าน พระภิกษุเหล่านั้นจึงต้องเที่ยวเก็บผ้าที่ขาทิ้งแล้วเช่น ผ้าเปรอะเปื้อน ที่ชาวบ้านไม่ต้องการ นำมาทิ้งไว้ ผ้าห่อศพ ฯลฯ เมื่อรวบรวมผ้าชิ้นเล็กชิ้นน้อย พอแก่ความต้องการแล้ว จึงนำมาซักทำความสะอาด ตัดเย็บ ย้อม เพื่อทำเป็นจีวร สบง หรือสังฆาฏิ ผืนใดผืนหนึ่ง การทำจีวรของภิกษุในสมัยพุทธกาล จึงค่อนข้างยุ่งยาก และเป็นงานใหญ่ ดังที่กล่าวไว้แล้วในเรื่องพิธีทอดกฐิน ครั้นชาวบ้านทั้งหลาย เห็นความยากลำบากของพระภิกษุสงฆ์ ต้องการจะนำผ้ามาถวาย แต่เมื่อยังไม่มีพุทธานุญาต โดยตรง จึงนำผ้าไปทอดทิ้งไว้ ณ ที่ต่างๆ เช่นในป่า ตามป่าช้า หรือข้างทางเดิน เมื่อภิกษุสงฆ์มาพบ เห็นว่าเป็นผ้าที่ผู้เป็นเจ้าของทอดอาลัยแล้ว ก็นำเอาทำเป็นสบง จีวร พิธีการทอดผ้าป่าก็มีความเป็นมาด้วย

แบบขึ้นทะเบียน


รูปภาพ





ที่ตั้ง

@17.6673127,103.1201569


ข้อสอบ

ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

 ความเป็นมา

บ้านหนังสือชุมชน  ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 98 หมู่ที่ 9 ตำบลนาคำ  อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี

เป็นร้านก๋วยเตี่ยวประจำหมู่บ้านบ้านโนนงาม 

ใบขึ้นทะเบียน


รูปภาพ






ที่ตั้ง
@17.6516458,103.1111259


ข้อสอบ

หมวดส่งเสริมอาชีพ

 ความเป็นมา

นายไพริน  ชากำนัน  ตั้งอยู่บ้านเลขที่ ึ 73  หมู่ที่ 10  

บ้านโนนสมโภชน์  ตำบลนาคำ  อำเภอบ้านดุง  จังหวัดอุดรธานี

แบบขึ้นทะเบียน


รูปภาพ





ที่ตั้ง

@17.6312185,103.1329518,16


ข้อสอบ

หมวดโบราณสถานโบราณวัตถุ

 ความเป็นมา

พระอธิการคำตัน  ปริปุณโณ  เจ้าอาวาสวัด บ้านโนนสมโภชน์  ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ 14  หมู่ที่ 10 


แบบขึ้นทะเบียน


รูปภาพประกอบ





ที่ตั้ง

โนนสมโภชน์/@17.6325846,103.1444911


ข้อสอบ

หมวดภูมิปัญญาหรือปราชญ์ชาวบ้าน

 

ความเป็นมา
นายวรินทร์  บรรดิ  ตั้งอยู่ที่บ้านโนนสมโภช หมู่ที่ 10  ตำบลนาคำ อำเภอบ้านดุง  จังหวัดอุดรธานี
เป็นระบบเกษตรผสมผสาน (Integrated Farming System) เป็นระบบกำรเกษตรที่มีกำรเพำะปลูกพืช
หรือกำรเลี้ยงสัตว์ต่ำง ๆ ชนิดอยู่ในพื้นที่เดียวกันภำยใต้กำรเกื้อกูล ประโยชน์ต่อกันและกันอย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุด โดยอำศัยหลักกำรอยู่รวมกันระหว่ำงพืช สัตว์ และสิ่งแวดล้อมกำรอยู่รวมกันอำจจะอยู่ในรูปควำมสัมพันธ์ระหว่ำงพืชกับพืช พืชกับสัตว ์ หรือสัตว์กับสัตว์ก็ได้ ระบบ เกษตรผสมผสำนจะประสบผลส ำเร็จได้ จะต้องมีกำรวำงรูปแบบ และด ำเนินกำร โดยให้ควำมส ำคัญต่อกิจกรรม แต่ละชนิดอย่ำงเหมำะสมกับสภำพแวดล้อมทำงกำยภำพเศรษฐกิจ สังคม มีกำรใช้แรงงำน เงินทุน ที่ดิน ปัจจัย กำรผลิตและทรัพยำกรธรรมชำติอย่ำงมีประสิทธิภำพตลอดจนรู้จักน ำวัสดุเหลือใช้จำกกำรผลิตชนิดหนึ่งมำหมุน เวียนใช้ประโยชน์กับกำรผลิตอีกชนิดหนึ่งกับกำรผลิตอีกชนิดหนึ่งหรือหลำยชนิด ภำยในไร่นำแบบครบวงจร ตัวอย่ำงกิจกรรมดังกล่ำว เช่น กำรเลี้ยงไก่ หรือสุกรบนบ่อปลำกำรเลี้ยงปลำในนำข้ำว กำรเลี้ยงผึ้งในสวนผลไม้ เป็นต้น

แบบขึ้นทะเบียนแหล่งเรียนู้



                                                                      รูปภาพประกอบ



               
                                                                          พิกัด


                                                            ข้อสอบ่

วันพุธที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566

ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม ตำบลนาคำ

 ความเป็นมา

ประเพณีวัฒนธรรมข้าวและประเพณีการทำนาของไทย: บุญข้าวจี่
           ทำบุญข้าวจี่ วันเพ็ญเดือน 3 เป็นวันมาฆบูชา รุ่งขึ้นวันแรม 1 ค่ำก็ถวายข้าวจี่ เรียกว่าวันทำบุญเนื่องในวันมาฆบูชานั่นเอง ข้าวจี่คือเอาข้าวเหนียวปั้นเป็นก้อนเอาไม้เสียบย่างไฟเหมือนไก่ย่าง เมื่อข้าวสุกเกรียมแล้วก็เอาไข่ซึ่งตีไว้แล้วทาแล้วย่างซ้ำอีกกลายเป็นไข่เคลือบข้าวเหนียว เสร็จแล้วถอดไม้ออกแล้วเอาน้ำอ้อยหรือน้ำตาลที่เป็นก้อนยัดใส่แทนกลายเป็นข้าวเหนียวยัดไส้ แล้วถวายพระเณรฉันตอนเช้า ส่วนมากชาวบ้านจะรีบทำแต่เช้ามืด พอสว่างก็ลงศาลาการเปรียญ (ชาวบ้านเรียกหอแจก) นิมนต์พระเณรเจริญพระพุทธมนต์แล้วฉัน เป็นทั้งงานบุญและงานรื่นเริงประจำแต่ละหมู่บ้าน เพราะได้ทำข้าวจี่ไปถวายพระหลังจากพระฉันแล้วก็เลี้ยงกันเองสนุกสนาน มีคำพังเพยอีสานว่า  "เดือนสามค้อยเจ้าหัวคอยปั้นเข้าจี่ เข้าจี่บ่ใส่น้ำอ้อยจัวน้อยเช็ดน้ำตา"

          เดือนนี้ชาวนาส่วนใหญ่ถือกันตั้งแต่โบราณมาว่าเป็นเดือนสู่ขวัญข้าว คือมีการถวายข้าวเปลือกพระและนิยมทำบุญบ้าน สวดมนต์เสร็จพิธีสงฆ์ แล้วก็สู่ขวัญข้าวตามธรรมเนียมพราหมณ์ บางบ้านก็ทำเล็กน้อยพอเป็นพิธี คือเอาข้าวไปถวายสงฆ์แล้วทำพิธีตุ้มปากเล้าเล็กน้อยเป็นการบูชาคุณของข้าวในเล้าหรือยุ้ง

"เถิงเมื่อเดือนสามได้จงพากันทำเข้าจี่ ไปถวายสงฆเจ้าเอาแท้หมู่บุญ"

ที่มา  กำนันตำบลนาคำ  นายบุญเหลือ  โคหนองบัว  เป็นผู้ให้ข้อมูล

 
แบบขึ้นทะเบียนแหล่งเรียนรู้



รูปภาพประกอบ














พิกัด


ข้อสอบบุญข้าวจี